Archives

Categories

Uncategorized

หนอนกระทู้ผัก

บิวเวอร์เรีย

หนอนกระทู้ผัก

 

บิวเวอร์เรีย ผักเป็นแมลงที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งต่อการปลูกผักในประเทศไทย ตัวหนอนเริ่มทำลายผักตั้งแต่เริ่มฟักออกมาจะเริ่มทำลายรุนแรงมากสามารถกัดกินใบ ก้าน ดอก หัวได้ทุกส่วน ทำความเสียหายให้กับพืชผักมาก เนื่องจากเป็นหนอนที่มีขนาดใหญ่และแพร่ระบาดได้รวดเร็วตลอดทั้งปี ลักษณะการทำลาย หนอนเมื่อฟักออกจากไข่ใหม่ ๆ จะอยู่รวมกันเป็น กลุ่มและแทะกินเฉพาะผิวใบพืชเหลือไว้แต่เส้นใบ เมื่อผิว ใบแห้ง ใบแห้งแล้วจะเห็นเป็นสีขาว ๆ เมื่อหนอนโตขึ้นอยู่ในวัยที่ 2-3 จะกระจายออกกัดกินใบพืชทั่วไป

 

หนอนตัวโตกินจุ ปริมาณมากและรวดเร็วทำให้ใบขาดเป็นรู ๆ ทั่วต้น หนอน เคลื่อนไหวช้า ในเวลากลางวันอากาศร้อน หนอนจะหลบ ลงดินหาที่ซ่อนตัว รูปร่างลักษณะชีวประวัติ (Spodoptera litura (Fabricius)) หนอนกระทู้ผักมีลำตัวอ้วนป้อม มีจุดสีดำใหญ่ ตรงปล้องที่ 3

 

บิวเวอร์เรีย แม่ผีเสื้อวางไข่เป็นกลุ่มใต้ใบจำนวนนับร้อยฟอง ไข่ปกคลุมด้วยขนสีฟางข้าว ระยะไข่ 3-4 วัน หนอนที่ เกิดใหม่จะอยู่รวมกลุ่มแทะกินผิวใบพืช และหนอนจะเริ่มแยกย้ายไปต้นอื่น ๆ หลังจากพ้นวัยที่ 2 หนอนโตเต็มที่มี ขนาด 3-4 เซนติเมตร และเคลื่อนไหวช้า หนอนมีการเจริญเติบโต 5 ระยะ ระยะหนอน 10-14 วัน หนอนเข้า ดักแด้ในดิน ดักแด้มีสีน้ าตาลเข้มยาวประมาณ 1.5 ซม. ระยะดักแด้ 7-10 วัน ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อขนาดกลาง เมื่อ กางปีกกว้าง 3-3.5 เซนติเมตร ปีกสีน้ำตาล ปีกคู่หน้ามีเส้นสีเหลืองพาดหลายเส้น

 

การป้องกันและกำจัด

1. เก็บกลุ่มไข่และหนอนทำลาย วิธีนี้พบว่าได้ผลดีและลดการระบาดของหนอนลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ บาซิลลัส ทูริงเยนซิส ตรา บีที-โกลด์ (BT-GOLD) ผสมสารจับใบอัตราตามฉลาก ฉีดพ่นในช่วงเวลาเย็น เมื่อพบ หนอนเริ่มระบาด อัตรา 60 กรัม/น้ำ 20 ลิตร ผสมสารจับใบ อัตราตามฉลาก ฉีดพ่นในช่วงเวลาเย็นทุก 5 วันครั้ง เมื่อพบหนอนระบาด

 

ไตรโคเดอร์ม่า เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า กำจัดโรคพืช 

 

เชื้อราไตรโคเดอร์ม่าคืออะไร

 

เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า  คือเชื้อราชนิดหนึ่งที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน  อาศัยเศษซากอินทรีย์วัตถุเป็นอาหารโดยไม่มีอันตราย

กับพืช คน สัตว์และแมลง  เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า หลายชนิดมีคุณสมบัติในการควบคุมและทำลายเชื้อราสาเหตุโรคพืช

ทางดิน  จึงทำให้พืชมีระบบรากที่สมบูรณ์  แข็งแรง  หาอาหารได้มากต้นพืชจึงสมบูรณ์ให้ผลผลิตสูง และคุณภาพดี

กลไกในการควบคุมเชื้อราโรคพืช

  1. เจริญแข่งขัน แก่งแย่งอาหาร น้ำ แร่ธาตุ อากาศ และแหล่งที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณลงอย่างรวดเร็ว เจริญแข่งขัน แก่งแย่งอาหาร น้ำ แร่ธาตุ อากาศ และแหล่งที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช  จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณลงอย่างรวดเร็ว
  2. เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดและแทงดูดกินน้ำเลี้ยง จากเชื้อราสาเหตุโรคพืช  ทำให้เส้นใยสลายลดการขยายลงอย่างรวดเร็ว
  3. สร้างสารพิษ น้ำย่อย  ไปทำลายเชื้อราโรคพืชทำให้เส้นใย  และส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อรา  โรคพืชเหี่ยวสลายและตายในที่สุด สร้างสารพิษ  น้ำย่อย  ไปทำลายเชื้อราโรคพืชทำให้เส้นใย  และส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อรา  โรคพืชเหี่ยวสลาย

 

เชื้อราไตรโคเดอร์ม่าควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืช ดังนี้

ไตรโคเดอร์ม่าควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดินได้มากกว่า 10 ชนิด ที่สำคัญได้แก่

  1. เชื้อราพิเทียม สาเหตุโรคกล้าเน่า  เมล็ดเน่า  เน่ายุบ  และเน่าคอดิน
  2. เชื้อราไฟทอปธอร่า สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า  โรคเลทไบลท์ เน่ายุบ  และเน่าคอดิน
  3. เชื้อราสเคลอโรเทียม สาเหตุโรคโคนเน่า โรครากเน่า (ราเมล็ดผักกาดขาว) เน่ายุบ  และเน่าคอดิน
  4. เชื้อราไรช็อคดทเนีย สาเหตุโรคกล้าเน่า  โคนเน่าขาว  รากเน่าและเน่าคอดิน
  5. เชื้อราฟิวซาเรียม สาเหตุโรคเหี่ยวและเน่าคอดิน

 

วิธีการนำเชื้อราไตรโคเดอร์ม่าไปใช้

1.การคลุกเมล็ด ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า (เชื้อสด) 1-2 ช้อนแกง (10-20 กรัม) ต่อเมล็ดพืช 1 กก.  โดยคลุกเคล้าให้เข้ากันในถุงอาจเติมน้ำเล็กน้อยเพื่อให้สปอร์ของเชื้อราเคลือบติดบนผิวของเมล็ดพืชได้ดียิ่งขึ้น

 

2.การรองก้นหลุมและการหว่าน ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า 1 กก. บวกลำละเอียด 5 กก. บวกปุ๋ยหมัก 40 กก. รองก้นหลุมปลูกในพืชผัก  พืชสวน 10-20 กรัม/ต้น  หว่านในแปลงปลูก 50-100 กรัม/ตารางเมตร  และในพืชสวนหว่านใต้ทรงพุ่มในอัตรา 5 กก. บวกปุ๋ยหมัก 40 กก. รองก้นหลุม3-5 กก./ต้น ไปทำลายเชื้อราโรคพืชทำให้เส้นใย  และส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อรา  โรคพืชเหี่ยวสลาย